ผศ.ดร.ประภัสสร บุษหมั่น

ประวัติบุคคล

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ประภัสสร บุษหมั่น

 1.ชื่อภาษาไทย :  นางประภัสสร  บุษหมั่น ชื่อภาษาอังกฤษ   :  Mrs. Prapassorn  Bussaman 

2. รหัสประจำตัวนักวิจัยแห่งชาติ : 40-40-0262 

3. ตำแหน่งปัจจุบัน :  ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 

4. ที่ทำงาน : ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะเทคโนโลยี  มหาวิทยาลัยมหาสารคาม  44000  โทร. 043754333 ต่อ 1835  มือถือ 08-1592-5295

5. E-mail address : [email protected]

6. ประวัติการศึกษา

  • ปริญญาเอก สาขาวิชา เทคโนโลยีชีวภาพ  มหาวิทยาลัยขอนแก่น
    ปีที่สำเร็จ  2549 วิทยานิพนธ์ระดับ ดีเยี่ยม (Excellent)
    หัวข้อวิทยานิพนธ์ที่ทำ การแสดงเอกลักษณ์ของไรศัตรูเห็ดสกุลเห็ดขอนและการประเมินประสิทธิภาพ ของแบคทีเรียที่อาศัยร่วมกับไส้เดือนฝอยศัตรูแมลง ในการควบคุมไรศัตรูเห็ดโดยชีววิธี
  • ปริญญาโท สาขาวิชา  เทคโนโลยีชีวภาพ  สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
    ปีที่สำเร็จ  2540 คะแนนเฉลี่ยสะสม 3.45
    หัวข้อวิทยานิพนธ์ที่ทำ    การผสมพันธุ์ระหว่างเห็ดหอมและเห็ดขอนขาว
  • ปี 2546-2547  ฝึกอบรมด้าน Biological control ณ. Ohio State University, USA.
  • ปริญญาตรี สาขาวิชา วิทยาศาสตร์-ชีววิทยา  มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม
    ปีที่สำเร็จ 2534 คะแนนเฉลี่ยสะสม  3.10

7. ประวัติการทำงาน

  • 2561 – ปัจจุบัน         กรรมการบริหารหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีชีวภาพ
  • 2555 – 2560          ผู้ช่วยศาสตราจารย์ และกรรมการบริหารหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีชีวภาพ
  • 2547 – 2549          รองคณบดีฝ่ายวิชาการและวิจัย คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
  • 2543 – 2544          รองหัวหน้าภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะเทคโนโลยี  มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 
  • 2542 – 2543          กรรมการสภาคณาจารย์  มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
  • 2540                    อาจารย์  สาขาเทคโนโลยีชีวภาพ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

8. สาขาวิชาที่เชี่ยวชาญ

  • การควบคุมโดยชีววิธี  เทคโนโลยีการเพาะเห็ด จุลชีววิทยาอุตสาหกรรม  เทคโนโลยีการหมัก อณูพันธุศาสตร์ การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ

         

9. ผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่

9.1 วารสารวิชาการนานาชาติ

  • Chi, H., You, M., Atlıhan, R., Smith, C. L., Kavousi, A., … Bussaman, P., Gökçe, A. & Liu, T. X. (2020). Age-stage, two-sex life table: an introduction to theory, data analysis, and application. Entomologia Generalis, 40(2): 103-124.
  • Bussaman, P., Rattanasena, P., Kontaku, A., & Pangsrisan, N. (2018). Synthesis and Efficacy of Silver and Zinc Oxide Nanoparticles from Xenorhabdus stockiae PB09 Cell-free Supernatant for Controlling Mushroom Mites. Food and Applied Bioscience Journal, 6(Special), 189-204.
  • Sa-uth, C., Rattanasena, P., Chandrapatya, A., and Bussaman, P. (2018). Modification of Medium Composition for Enhancing the Production of Antifungal Activity from Xenorhabdus stockiae PB09 by Using Response Surface Methodology. International Journal of Microbiology, 2018.
  • Bussaman P.,Sa-Uth C.,Chandrapatya A., Atlihan R., Gokce A., Saska P. and Chi, H. (2017). Fast population growth in physogastry reproduction of Luciaphorus perniciosus (Acari: Pygmephoridae) at Different Temperatures. Journal of Economic Entomology. 110(4) : 1397-1403.
  • Bussaman, and P. Rattanasena. (2016). Additional property of Xenorhabdus stokiae for inhibiting cow mastitis –causing bacteria. Biosciences Biotechnology Research Asia. 13(4): 1871-1878.
  • Namsena, P., P. and P. Rattanasena. (2016). Bioformulation of Xenorhabdus stockiaePB09 for controlling mushroom mite, Luciaphorus perniciosus Rack. Bioresources and Bioprocessing. 3:19. DOI: 10.1186/s40643-016-0097-5.
  • Bussaman, P., Rattanasena, P. and P. Namsena. (2015). Antimicrobial activities of some local plants of Thailand against acne-producing bacteria. Food and applied Bioscience Journal. 3(3): 184-192.
  • Plainsirichai, M., Prasomthong, N., Bussaman, P. and M. (2015). Methanol, ethanol, and acetone result in non different concentration of total phenolic content in mangosteen (Gacinia mangostana L.) Peel. Journal of Agricultural Science. 7(2): 131-134.        
  • Bussaman,P., Sa-uth, C., Rattanasena, P. and A. Chandrapatya. (2012). Effect of crude plant extracts on Mushroom mite, Luciaphorus sp. (Acari: Pygmephoridae).Phyche. Article ID309046, 6 pages.  
  • Bussaman, P., Namsena, P., Rattanasena, P. and A. Chandrapatya. (2012). Effect of crude leaf extracts on Colletotrichum gloeosporioides (Penz.) Sacc. Article ID309046, 6 pages.
  • Bussaman, P., Sa-Uth, C., Rattanasena, P. and A. Chandrapatya. (2012). Acaricidal activities of whole cell suspension, cell-free supernatant, and crude cell extract ofXenorhabdus stokiae against mushroom mite (Luciaphorus ). Journal of Zhejiang University SCIENCE B. 13(4):261-266. 
  • Bussaman, P., Sermswan, R.W.and A. Chandrapatya. (2011). Genetic diversity of mushroom mite (Luciaphorus ) infesting cultivated mushrooms in the Northeast of Thailand. African Journal of Agricultural Research. 6(24): 5438-5445.
  • Sobanboa, S., Bussaman, P. and A. Chandrapatya. (2009). Efficacy of Xenorhabdus (X1) as biocontrol agent for controlling mushroom mite (Luciaphorus  perniciosus). Asian Journal of Food and Agro-Industry. Special Issue 2:145-154.
  • Namsena, P., Bussaman, P. and A. Chandrapatya. (2009). Efficacy of Xenorhabdus (X1)   mutant on mushroom mite (Luciaphorus sp.). Asian Journal of Food and Agro-Industry. Special Issue 1:145-151.
  • Bussaman, P., Sobanboa, S., Grewal, S. and A. Chandrapatya. (2009). Pathogenicity of additional strains of Photorhabdus and Xenorhabdus (Enterobacteriaceae) to the mushroom mite Luciaphorus perniciosus  (Acari: Pygmephoridae). Applied Entomology and Zoology. 44(2): 293-299.
  • Bussaman, P., Sermswan, R.W. and P.S. Grewal. (2006). Toxicity of the entomopathogenic bacteria Photorhabdus and Xenorhabdus to the mushroom mite (Luciaphorus ; Acari: Pygmephoridae). Biocontrol Science and Technology. 16(3): 245-256.

9.2 วารสารวิชาการระดับชาติ

  • Bussaman, P. Sa-Uth, C. and Rattanasena, P. (2020). Comparison Between Antifungal Activities of Xenorhabdus stockiae PB09 Cell-free Supernatants Derived from Shake-Flask Cultivation and Fermentation. Journal of Science and Technology Mahasarakham University. 39(2): 200-205.
  • อัญชนก เวียนเป๊ะ, ปริยาภรณ์ อิศรานุวัฒน์, ประภัสสร บุษหมั่น. (2559). การสกัดพืชสมุนไพรวงศ์ขิงด้วยตัวทำละลายร่วมกับคลื่นเสียงความถี่สูงและประสิทธิภาพในการทำลายไรไข่ปลา Luciaphorus perniciosush วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 12: 201-208.
  • ลัดดาวัลย์ ทองบัวรุ่ง, จีระพรรณ สุขศรีงาม, ปวีณา รัตนเสนา, ประภัสสร บุษหมั่น. (2558). ผลของระยะเวลาการเก็บรักษาต่อฤทธิ์ยับยั้งเชื้อราของพืชสมุนไพรบางชนิด วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 11:59-64.
  • Sa-Uth, C., Rattasena, P., Bussaman, P. and A. Chandrapata. (2014). Acaricidal and antibacterial activities of Xenorhabdus stockiae on different culture conditions. KKU Research Journal.19: 148-155.
  • Vongkhamchanh, B., Rattanasena, P. and Bussaman. (2014). Acaricidal activities of crude extract derived from Annona squamosa Linnaeus leaves against cattle tick, Rhipicephalus microplus Canestrini (Acari: Ixodidea). Journal of Science and Technology Mahasarakham University. 33(2): 211-216.
  • Rattanasena, P. and Bussaman. (2013). Antioxidant activities and levels of total phenolic compounds and γ aminobutyric acid of extracts derived from Thai pre-germinated brown rice and pre-germinated rough rice. Srinakharinwirot Science Journal. 29(1): 95‑109.
  • ธิติพร โคตรชา, วรรทณา สินศิริ, นริศ สินศิริและประภัสสร บุษหมั่น. (2554). ประสิทธิภาพของสารสกัดจากพืชในการควบคุมโรคที่เกิดจากเชื้อรา Pythium aphanidermatum (Edson) Fitzp. ในถั่วพุ่มพันธุ์ มมส.1. วารสารแก่นเกษตร. ฉบับพิเศษ:184-189.
  • นิภาดา ประสมทอง, มาระตรี เปลี่ยนศิริชัย, ประภัสสร บุษหมั่น, วรภัทร ลัคนทินวงศ์, พิทักษ์ สิงห์ทองลาและมงคล วงศ์สวัสดิ์. (2554). ผลของไคโตซานต่อเชื้อรา Colletotrichum gloeosporioides (Penz.) สาเหตุโรคแอนแทรกโนสของผลมะม่วงน้ำดอกไม้. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร. ฉบับที่ 42 : 3 พิเศษ : 228-231.
  • นิภาดา ประสมทอง, มาระตรี เปลี่ยนศิริชัย, มงคล วงศ์สวัสดิ์, ประภัสสร บุษหมั่นและวรภัทร ลัคนทินวงศ์. (2553). ผลของอายุการเก็บรักษาและชนิดของตัวทำละลายที่มีผลต่อปริมาณฟีนอลิกทั้งหมดในเปลือกมังคุด. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร. ฉบับที่ 41: 417-420.

 

9.3 ผลงานที่นำเสนอในที่ประชุมวิชาการ (จำแนกระดับชาติและระดับนานาชาติหรือเทียบเท่า)

9.3.1 การประชุมวิชาการระดับนานาชาติ

  • Bussaman, P., Rattanasena, P., Kontaku, A., & Pangsrisan, N. (2018). Synthesis and Efficacy of Silver and Zinc Oxide Nanoparticles from Xenorhabdus stockiae PB09 Cell-free Supernatant for Controlling Mushroom Mites. In “International Conference on Food and Applied Bioscience”, (1- 2 February 2018) Chiang Mai, Thailand.
  • Bussaman, P., Sa-Uth, C. & Rattanasena, P. (2015). Antifungal activity of Xenorhabdus stockiae PB09 against Colletotrichum gloeosporioides (Penz.) Sacc. In “Asian Congress on Biotechnology 2015”, (15-19 November, 2015). Kuala Lumpur, Malaysia.
  • Namsena, P., Bussaman, P., & Rattanasena, P. (2015). Bioformulation of Xenorhabdus stockiae PB09 for Controlling Mushroom Mite, Luciaphorus perniciosus In “Asian Congress on Biotechnology 2015”, (15-19 November, 2015). Kuala Lumpur, Malaysia.
  • On-nangyai, E., Sa-uth, C., Bussaman, P. and Rattanasena, P. (2015). Efficacy of Xenorhabdus stockiae PB09 metabolites against plant-infecting fungal pathogens. In “International Postgraduate Symposium on Food, Agriculture and Biotechnology” (17-18 August, 2015). Maha Sarakham, Thailand.
  • Sa-uth, C., Chantanate, N., Wianpe, A. and Bussaman, P. (2015). Inhibitory effects of preserved crude herbal extracts against fungal plant pathogens. In “International Postgraduate Symposium on Food, Agriculture and Biotechnology” (17-18 August, 2015). Maha Sarakham, Thailand.
  • Chuerkhomta, C., Rattanasena, P. and Bussaman, P. (2015). Effect of germination and roasting on the levels of total phenolic compounds and antioxidant in RD6 Thanyasirin rice. In “International Postgraduate Symposium on Food, Agriculture and Biotechnology” (17-18 August, 2015). Maha Sarakham, Thailand.
  • Chandrapatya, A Bussaman, P. and C. Sa-Uth. (2014) Effect of temperature on biology and life table of Luciaphorus perniciosus Rack infesting the tropical white rot fungus, Lentinus squarrosulus in Thailand. In “ENTOMOLOGY 2014” (16-19 november, 2014). Portland, Oregon, USA.
  • Bussaman, P., Sa-Uth, C., Chandrapatya, A. and Hsin Chi. (2014) Biology and life table of mushroom mite, Luciaphorus perniciosus Rack infesting the tropical white rot fungus, Lentinus squarrosulus in Thailand. In “XIV International Congress of Entomology” (13-18 July, 2014). Kyoto, Japan.
  • Sa-Uth, C., Rattasena, P., Bussaman, P. and A. CHANDRAPATYA. (2013) Acaricidal and activities of Xenorhabdus stockiae on different culture conditions. In “The 5th International Conference on Fermentation Technology for Value Added Agricultural Products (Fervaap2013)” (August 21-23, 2013). Khon Kaen, Thailand.
  • BoonlaiI, , Rattanasena, P., Suksringarm, J. and P. Bussaman. (2012) Efficacy of plant extracts for controlling Colletotrichum gloeosporioides (Penz.) Sacc. Proceeding publication in conference on Natural Products for Health and Beauty (NATPRO 4), Chiang Mai, 28-30 November 2012.
  • Vongkhamchanh, B., Rattanasena, P., Suksringarm, J. and Bussaman. (2012) Potential of crude plant extracts against cattle tick, Rhipicephalus microplus (Acari: Ixodidae). Proceeding publication in conference on Natural Products for Health and Beauty (NATPRO 4), Chiang Mai, 28-30 November 2012
  • Bussaman, P., Rattanasena, P. and P. Namsena. (2012) Evaluation of storage conditions and extraction solvents for antioxidant properties in herbs of Zingiberaceae. Proceeding publication in conference on Natural Products for Health and Beauty (NATPRO 4), Chiang Mai, 28-30 November 2012.
  • Rattanasena, P. and Bussaman. (2012) Antioxidant and antibacterial activities of vegetables commonly consumed in Thailand. Proceeding publication in conference on Natural Products for Health and Beauty (NATPRO 4), Chiang Mai, 28-30 November 2012.
  • Bussaman, P., Sa-uth, C. and A. Chandrapatya. (2012) Effect of temperature on life cycle and life table parameters of the mushroom mite Luciaphorus perniciosus Rack (Acari: Pygmephoridae). In “XXIV International Congress of Entomology (ICE2012)” (August 19-25, 2012). Daegu, Korea.
  • Rattanasena, P. and Bussaman. (2012) Antioxidant activities and levels of total phenolic compounds and aminobutyric acid of extracts derived from Thai pre-germinated brown rice and pre-germinated rough rice. In 2012 Asian Food Heritage Forum “Harmonizing Culture, Technology and Industry (August 20-21, 2012). Bangkok, Thailand.
  • Bussaman, P., Rattanasena, P. and A. Chandrapatya. (2011) Viability and efficacy of freeze-dried symbiotic bacteria, Xenorhabdus, against mushroom mites. In “The 4th Congress of European Microbiologists (FEMS 2011)” (June 26-30, 2011). Geneva, Switzerland.
  • Bussaman, P., Sa-Uth, C., Tonsao, A., Sawangkeaw, A. and P. Rattanasena. (2010) Lactic Acid Bacteria from Thai Fermented Meat Products as Biocontrol Agents against Anthracnose Disease. In “The International Conference on Agriculture and Agro-Industry (ICAAI 2010): Food, Health and Trade” (November 19-20, 2010). Chiang Mai, Thailand.
  • Bussaman, P. Sobanboa, and A. Chandrapatya.  (2008) Evaluation of the  Xenorhabdus  nematophila as biocontrol agent for controlling mushroom mite (Luciaphorus sp.).  In 20th Annual Meeting and International Conference of the Thai Society for Biotechnology “TSB 2008: Biotechnology for Global Care” (October 14 – 17, 2008).  Taksila Hotel, Mahasarakham,  Thailand.
  • Bussaman, P., Sermswan, R.W. and P.S. Grewal. (2005) The efficacy of the entomopathogenic bacteria Photorhabdus and Xenorhabdus to the mushroom mite. In “The Forth International Congress on Biopesticide” ( February 13-18, 2005). Imperial Mae Ping Hotel, Chiang Mai, Thailand.
  • Bussaman, P., Gioconda, G. and R.W. Sermswan. (2004) Random Amplified Polymorphic DNA (RAPD) For Classification of Luciaphorus : A New Parasite of Economic Mushrooms. In “The Fifth Princess Chulabhorn International Science Congress” (August 16-20, 2004). Bangkok, Thailand.
  • Bussaman, P., Chandrapatya, A., Sermswan, R.W. and P.S. Grewal. (2004) Morphology, biology and behavior of the genus Pygmephorus (Acari: Heterostigmata) parasite of economic edible mushrooms in Northeast, Thailand. In “XXII International Congress of Entomology” (August 15-21, 2004). Brisbane, Australia.
  • Bussaman, P., Chandrapatya, A., Sermswan, R.W. and P.S. Grewal. (2004) Morphology, biology and behavior of the genus Pygmephorus (Acari: Heterostigmata) a new parasite of economic edible mushroom. In “2004 OARDC Annual Conference” (April 29, 2004). Conference Hall, Shisler Conference Center, OARDC, Wooster, Ohio, USA.

9.3.2 การประชุมวิชาการระดับชาติ

  • ประภัสสร บุษหมั่น, จิรายุ สาอุตม์, ปวีณา รัตนเสนา (2564). ผลของสารสกัดจากวัสดุเหลือทิ้งของมะละกอในการยับยั้งเชื้อราสาเหตุโรคพืชบางชนิด. ใน “การประชุมวิชาการ มอบ.วิจัย ครั้งที่ 15 ภายใต้แนวคิด Future Trends of Research and Innovation” (22-23 กรกฎาคม 2564). มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. จังหวัดอุบลราชธานี
  • ประภัสสร บุษหมั่น, จิรายุ สาอุตม์, ปวีณา รัตนเสนา (2562). การเปรียบเทียบกิจกรรมต้านเชื้อราระหว่างส่วนใสปราศจากเซลล์ที่ได้จากการเพาะเลี้ยงแบคทีเรีย Xenorhabdus stockiae PB09 ในระดับ ฟลาสก์และระดับถังหมัก. ใน “การประชุมทางวิชาการมหาวิทยาลัยมหาสารคามวิจัย ครั้งที่ 15” (5-6 กันยายน 2562). มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. จังหวัดมหาสารคาม
  • ปวีณา รัตนเสนา, โชติกา เชื้อคมตา, ประภัสสร บุษหมั่น (2557) ปริมาณสารประกอบฟีนอลิกทั้งหมดของข้าวเหนียวไทย และผลของการแปรรูปและการเก็บรักษาในถุงพลาสติกแบบต่างๆ. บทความวิจัยตีพิมพ์เผยแพร่ใน การประชุมวิชาการข้าวแห่งชาติ ครั้งที่ 3: Rice for the World, กรุงเทพมหานคร, 11-12 กันยายน 2557 (Manuscript submitted).
  • ปวีณา รัตนเสนา และ ประภัสสร บุษหมั่น (2555) กิจกรรมต้านอนุมูลอิสระและปริมาณสารประกอบฟีนอลิกทั้งหมดในข้าวกล้อง ข้าวกล้องงอก และข้าวฮางงอกของข้าวไทยบางสายพันธุ์. บทความวิชาการตีพิมพ์เผยแพร่ใน การประชุมวิชาการข้าวแห่งชาติ ครั้งที่ 2: มิติใหม่วิจัยข้าวไทย, กรุงเทพมหานคร, 21-23 ธันวาคม
  • Bussaman, P. and Chandrapatya. (2008) Evaluation of Different Formulations of  the  Xenorhabdus nematophila against Mushroom Mite (Luciaphorus sp.). In “Thailand research fund” (Octerber 16-18  2008)”. Holiday Inn Regent Beach, Cha-Umm , Phetchaburi, Thailand.
  • Bussaman, P. and Chandrapatya. (2007) The Efficacy of the Entomopathogenic Bacteria Xenorhabdus and Photorhabdus for Controlling Mushroom Mite (Luciaphorus sp.): A Novel Approach. In “Thailand research fund” (Octerber 11-13, 2007). Ambassador City Jomtien, Chonburi, Thailand.
  • Bussaman, P., Sobanboa, S. and Chandrapatya. (2007) Pathogenic effects of the entomopathogenic bacteria Photorhabdus and Xenorhabdus against mushroom mite: A novel approach. In “Proceedings of the 3rd Mahasarakham University Research Conference” (September 6-7, 2007). Maha Sarakham, Thailand. 
  • Bussaman, P., Namsena, P., Thongman, P. and Chandrapatya. (2006)  Antifungal activity of bacterial associated with entomopathogenic nematodes. In “Thailand research fund senior scholar” (September 20, 2006). Kasetsart University, Bangkok, Thailand.
  • Bussaman, P., Rajjacom, S., Nuanboonma1, S. and A. Chandrapatya.  (2006) Susceptibility  of larvae of the mushroom moth to the entomopathogenic nematode. In “Thailand research fund senior scholar” (September 20, 2006). Kasetsart University. Thailand.
  • Bussaman, P. and P.S. Grewal. (2005) Biological control of mushroom pest by compatibility of chemical pesticides with insect-parasitic nematode, Steinernema feltiae. In “Proceedings of the 1st Mahasarakham University Research Conference” (September, 2005). Maha Sarakham, Thailand.  

 

10. บทความวิชาการ
วารสารระดับชาติ

  • ประภัสสร บุษหมั่น และ Hsin Chi. (2562). ตารางชีวิตแบบระบุวัยของแมลงทั้งสองเพศ พื้นฐานของนิเวศวิทยาประชากร การควบคุมโดยชีววิธี และการจัดการศัตรูพืช. วารสารกีฏและสัตววิทยา, 37(1-2): 39-48.
  • ประภัสสร บุษหมั่น. (2554) ศักยภาพของแบคทีเรียร่วมอาศัยในไส้เดือนฝอยศัตรูแมลงในการเป็นตัวควบคุมโดยชีววิธี. วารสารกีฏและสัตววิทยา, 29: 50-65.

       

11. หนังสือประกอบการเรียน-การอบรม

  • ประภัสสร บุษหมั่น. (2554).  เอกสารประกอบการสอนวิชาเทคโนโลยีของยีนเบื้องต้น  ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
  • ประภัสสร บุษหมั่น. (2552). เทคโนโลยีการเพาะเห็ดเศรษฐกิจและการแปรรูป  มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 
  • ประภัสสร บุษหมั่น. (2552). การใช้แบคทีเรียที่อาศัยอยู่ร่วมกับไส้เดือนฝอยในต่อการควบคุมโดยชีววิธี หน่วยวิจัยโดยชีววิธี ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 

 

12. ประสบการณ์วิจัย (งานวิจัยที่ดำเนินการเสร็จสิ้นแล้ว)

  • หัวหน้าโครงการวิจัย การพัฒนาสารชีวภัณฑ์สำเร็จรูปพร้อมใช้ของแบคทีเรีย Xenorhabdus stockiae PB09 เพื่อควบคุมเชื้อราก่อโรคพืช (ภายใต้ทุนสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ : 2561)
  • หัวหน้าโครงการวิจัย ประสิทธิภาพของสารเมทาโบไลท์ของแบคทีเรีย Xenorhabdus stockiae PB09 ในการควบคุมเชื้อราก่อโรคพืช (ภายใต้ทุนสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ : 2560)
  • หัวหน้าโครงการวิจัย การพัฒนาผลิตภัณฑ์สำเร็จรูปพร้อมใช้ของแบคทีเรีย Xenorhabdus เพื่อควบคุมไรศัตรูเห็ด (ภายใต้ทุนสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ : 2559)
  • หัวหน้าโครงการวิจัย ประสิทธิภาพของสารเมทาโบไลท์ของแบคทีเรีย Xenorhabdus stockiae PB09 ในการยับยั้งแบคทีเรียก่อโรคเต้านมอักเสบในโคนม (ภายใต้ทุนสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ : 2558)
  • หัวหน้าโครงการวิจัย การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์แบคทีเรีย Xenorhabdus nematophila เพื่อควบคุมไรศัตรูเห็ด (ภายใต้ทุนสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ : 2557)
  • หัวหน้าโครงการวิจัย การใช้สารสกัดหยาบจากพืชบางชนิดในการทำลายเห็บโค (ภายใต้ทุนของกองส่งเสริมการวิจัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม : 2556)
  • หัวหน้าโครงการวิจัย ประสิทธิภาพของสารสกัดจากพืชในวงศ์ขิงบางชนิดเพื่อการควบคุมเชื้อราก่อโรคพืช (ภายใต้ทุนของกองส่งเสริมการวิจัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม : 2556)
  • หัวหน้าโครงการวิจัย การพัฒนาผลิตภัณฑ์กำจัดไรศัตรูพืชจากพืชสมุนไพร (ภายใต้ทุนของกองส่งเสริมการวิจัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม : 2556)
  • ผู้ร่วมโครงการวิจัย การวิเคราะห์สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพและคุณสมบัติการยับยั้งจุลินทรีย์ในเมล็ดข้าวพันธุ์พื้นเมืองแปรรูปเพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ (ภายใต้ทุนสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ : 2555)
  • หัวหน้าโครงการวิจัย กิจกรรมในการฆ่าไรและการผลิตสารปฏิชีวนะโดยแบคทีเรีย Xenorhabdus ในช่วงระหว่างการหมัก (ภายใต้ทุนของกองส่งเสริมการวิจัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม : 2555)
  • หัวหน้าโครงการวิจัย การเปรียบเทียบกิจกรรมการยับยั้งเชื้อราของสารสารสกัดจากพืชที่ผ่านการเก็บรักษาด้วยอุณหภูมิแตกต่างกัน (ภายใต้ทุนของคณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม : 2555)
  • หัวหน้าโครงการวิจัย การวิจัยและพัฒนาสารสกัดจากพืชสมุนไพรเพื่อผลิตผลิตภัณฑ์ควบคุมโรคแอนแทรกโนสและแมลงศัตรูพืช (ภายใต้ทุนสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ : 2554 )
  • หัวหน้าโครงการวิจัย การเพาะเห็ดเศรษฐกิจโดยใช้วัสดุท้องถิ่นและการแปรรูป (ภายใต้ทุนของกองส่งเสริมการวิจัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม : 2553)
  • หัวหน้าโครงการวิจัย การอยู่รอดและประสิทธิภาพของแบคทีเรีย Xenorhabdus sp ที่ผ่านเก็บรักษาโดยวิธีการทำแห้งแบบเยือกแข็งต่อไรศัตรูเห็ด (ภายใต้ทุนของกองส่งเสริมการวิจัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม : 2553)
  • ผู้ร่วมงานวิจัยโครงการวิจัย การศึกษาประสิทธิภาพของสารสกัดจากพืชในการควบคุมคุณภาพและยืดอายุการเก็บรักษาผลไม้และเนื้อสัตว์ (ภายใต้ทุนสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ : 2552)
  • ผู้ร่วมงานวิจัยโครงการวิจัย การวิจัยและพัฒนาพืชป่าบางชนิดเป็นพืชเศรษฐกิจของประเทศ  (ภายใต้ทุนเมธีวิจัยอาวุโสของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, ศ.ดร.อังศุมาลย์ จันทราปัตย์ : 2548-2550)
  • หัวหน้าโครงการวิจัย ประสิทธิภาพในการทำลายไรไข่ปลา (Luciaphorus) ของแบคทีเรีย  X.  nematophila (X1) ที่ถูกชักนำให้เกิดการกลายพันธุ์ด้วยรังสีอัลตราไวโอเลตและสารเคมี Ethyl Methane Sulfonate (ทุนวิจัยมหาบัณฑิต (น.ส. ปิยรัตน์ นามเสนา) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย พ.ศ. 2552)
  • หัวหน้าโครงการวิจัย การวิจัยและพัฒนาประสิทธิภาพของแบคทีเรียที่อาศัยร่วมกับไส้เดือนฝอยศัตรูแมลง   และสารสกัดบางชนิดต่อการควบคุมแมลงศัตรูพืชบางชนิดโดยชีววิธี (ทุนพัฒนาศักยภาพในการทำงานวิจัยของอาจารย์รุ่นใหม่ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย พ.ศ. 2550-2551)
  • หัวหน้าโครงการวิจัย ผลของแบคทีเรียที่อาศัยอยู่ร่วมกับไส้เดือนฝอยต่อการทำลายตัวอ่อนของหนอนกระทู้ผัก โดยชีววิธี
  • หัวหน้าโครงการวิจัย การใช้ไส้เดือนฝอยในการควบคุมหนอนศัตรูเห็ดโดยชีววิธี
  • หัวหน้าโครงการวิจัย ผลของแบคทีเรียที่อาศัยอยู่ร่วมกับไส้เดือนฝอยต่อการยับยั้งการเจริญของเชื้อราก่อโรคพืช
  • หัวหน้าโครงการวิจัย การใช้แบคทีเรียที่อาศัยอยู่ร่วมกับไส้เดือนฝอยต่อการควบคุมไรไข่ปลา

ดาวน์โหลดต้นฉบับ
ฉบับเดิม

Translate »