หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการอาหารและโภชนาการ (หลักสูตร พ.ศ. 2565)

ชื่อหลักสูตร

ภาษาไทย : หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาเทคโนโลยีการอาหารและโภชนาการ
ภาษาอังกฤษ : Bachelor ofScienceProgram inFoodTechnology and Nutrition

ชื่อปริญญาและสาขาวิชา

ภาษาไทย (ชื่อเต็ม) : วิทยาศาสตรบัณฑิต(เทคโนโลยีการอาหารและโภชนาการ)
(ชื่อย่อ) : วท.บ. (เทคโนโลยีการอาหารและโภชนาการ)
ภาษาอังกฤษ (ชื่อเต็ม) : Bachelor ofScience (FoodTechnology and Nutrition)
(ชื่อย่อ) : B.Sc. (FoodTechnology and Nutrition)

หลักสูตร

จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 139 หน่วยกิต ใช้ระยะเวลาในการสำเร็จการศึกษาไม่เกิน 4 ปีแบ่งย่อยออกเป็น 2 โปรแกรมคือโปรแกรมปกติ(Non-CooperativeEducation)และโปรแกรมสหกิจศึกษา (CooperativeEducation)

โครงสร้างหลักสูตร

 

 

หมวดวิชาและกลุ่มวิชา   โปรแกรมปกติ โปรแกรมสหกิจศึกษา
1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต 30 หน่วยกิต
2. หมวดวิชาเฉพาะด้าน ไม่น้อยกว่า 103 หน่วยกิต 107 หน่วยกิต
2.1 วิชาพื้นฐานวิชาเอก   37 หน่วยกิต 37 หน่วยกิต
2.2 กลุ่มวิชาเฉพาะ   66 หน่วยกิต 70 หน่วยกิต
– วิชาเอกบังคับ   55 หน่วยกิต 53 หน่วยกิต
– วิชาเอกเลือก   10 หน่วยกิต 7 หน่วยกิต
– การฝึกประสบการณ์วิชาชีพ   1 หน่วยกิต 10 หน่วยกิต
2.3 วิชาที่เรียนเพิ่มขึ้น  
– วิชาบังคับ  
– วิชาเลือก  
3. หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต 6 หน่วยกิต
  รวมหน่วยกิต ไม่น้อยกว่า 139 หน่วยกิต 143 หน่วยกิต
สายงาน
เอกชน
  • นักวิทยาศาสตร์ด้านอาหาร
  • พนักงานระดับจัดการโรงงานแปรรูปอาหารกระป๋อง
  • พนักงานระดับจัดการโรงงานส่งออกอาหารทะเล
  • พนักงานระดับจัดการโรงงานแปรรูปเนื้อสัตว์
  • พนักงานระดับจัดการโรงงานผลิตเครื่องดื่ม
  • พนักงานระดับจัดการอุตสาหกรรมนมและผลิตภัณฑ์
  • นักวิจัยตลาดที่ปรึกษาโรงงาน
ราชการ
  • นักวิจัยและนักวิชาการในองค์การอาหารและยา
  • สถาบันอาหารกรมวิทยาศาสตร์บริการ
  • นักโภชนาการและเจ้าหน้าที่โรงพยาบาล
ธุรกิจส่วนตัว
  • เจ้าของธุรกิจอาหาร
  • ผู้ให้บริการด้านอาหาร
Translate »