โดย รศ.ดร.ทรงศักดิ์ จำปาวะดี
ระยะเวลาดำเนินโครงการ: 1 ธันวาคม 2564 – 30 กันยายน 2565
กลุ่มเป้าหมาย และพื้นที่ดำเนินการ: เกษตรกรจากชุมชนบ้านนาสีนวน ต.นาสีนวน อ.กันทรวิชัย จ.มหาสารคาม
ตอบโจทย์ SDGs เป้าหมายที่ 2 ขจัดความหิวโหย บรรลุความมั่นคงทางอาหาร ส่งเสริมเกษตรกรรมอย่างยั่งยืน (Zero Hunger)
ข้อย่อย: 2.5 National Hunger : ความหิวโหยของชาติ
ตัวชี้วัด 2.5.3 University access to local farmers and food producers : Provide access to university facilities (e.g. labs, technology, plant stocks) to local farmers and food producers to improve sustainable farming practices.
โครงการการอบรมเชิงปฏิบัติการการเลี้ยงและดูแล สุขภาพสัตว์ ตําบลนาสีนวน อําเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม เพื่อนําผลการวิจัยเรื่องผลของการใช้เปลือกล้างมันสําปะหลังในสูตรอาหารผสมสําเร็จรูปแบบหมักที่มีหญ้าเนเปียร์ ปากช่องเป็นแหล่งอาหารหยาบต่อปริมาณการกินได้ กระบวนการหมักในกระเพาะหมักและการย่อยได้ของโภชนะในโคเนื้อ ไปอบรมเชิงปฏิบัติการให้แก่เกษตรกร และ อบรมเชิงปฏิบัติการและให้บริการวิชาการเรื่อง วัคซีน ยาบํารุงและยาถ่ายพยาธิสําหรับสัตว์เขต พื้นที่ ต.นาสีนวน อ.กันทรวิชัย จ.มหาสารคาม โดยมีเกษตรกรเข้าร่วมโครงการประมาณ 50 คนและนิสิตระดับ ปริญญาตรีสาขาสัตวศาสตร์ นิสิตปริญญาตรีคณะสัตวแพทย์รวมทั้งคณาจารย์จากสาขสัตวศาสตร์ และสาขาสัตว แพทยศาสตร์ จํานวน 80 คน ผลการดําเนินงานเป็นที่พอใจในระดับสูง และอยากให้มีโครงการลักษณะนี้อีก เนื่องจากเกษตรกรได้รับความรู้และประโยชน์อย่างแท้จริง
“Practical Training Program on Animal Husbandry and Health Care in Nasa Nuan Subdistrict, Kantarawichai District, Maha Sarakham Province”
The practical training program on animal husbandry and health care in Nasa Nuan Subdistrict, Kantarawichai District, Maha Sarakham Province was initiated with the primary objective of transferring research findings related to the utilization of cassava peel in formulated fermented supplementary feeds with Elephant Grass (Pennisetum purpureum) as a roughage source to enhance feeding intake, rumen fermentation processes, and nutrient digestibility in beef cattle. This program involved hands-on training sessions for local farmers and academic training on vaccine administration, preventive medication, and disease management for livestock in the Nasa Nuan Subdistrict. Approximately 50 farmers and 80 undergraduate students majoring in veterinary science, including faculty members from the Faculty of Veterinary Science and the School of Veterinary Medicine, actively participated in the program. The project achieved a high level of satisfaction among participants, resulting in significant knowledge transfer and tangible benefits to local farmers. The positive outcomes of this program have inspired the desire for similar initiatives in the future due to the genuine knowledge acquisition and benefits received by the agricultural community.