โครงการพัฒนาพื้นที่ทางการเกษตรเพื่อขอรับรองมาตราฐานเกษตรอินทรีย์

โครงการพัฒนาพื้นที่ทางการเกษตรเพื่อขอรับรองมาตราฐานเกษตรอินทรีย์

โดย อ.ดร.ศุภชัย สุทธิเจริญ และคณะ

ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ธันวาคม 2564 – 30 กันยายน 2565

กลุ่มเป้าหมาย และพื้นที่ดำเนินการ: กลุ่มวิสาหกิจชุมชนปลูกผักอินทรีย์บ้านนาสีนวน อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม

กลุ่มวิสาหกิจชุมชนปลูกผักอินทรีย์บ้านนาสีนวน อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม ก่อตั้งขึ้นมาเพื่อรวมกลุ่มการผลิตพืชผักอินทรีย์เพื่อการค้าภายในชุมชนและอำเภอใกล้เคียงในพื้นที่มหาวิทยาลัยมหาสารคามจังหวัดมหาสารคาม และในปี พ.ศ. 2563  ได้ทำการรวมกลุ่มเพื่อรวมตัวกันปลูกพืชผักอินทรีย์และจดทะเบียนเป็นกลุ่มวิสาหกิจชุมชนและมหาวิทยาลัยมหาสารคามได้จัดสรรพื้นที่สำหรับปลูกผักในเนื้อพื้นที่ประมาณ 10 ไร่ เพื่อทำการปลูกผักอินทรีย์เชิงการค้าซึ่งเป็นที่ต้องการของตลาดรักสุขภาพ ได้แก่ ผักพื้นบ้าน คะน้า แตงกวา ผักชี คื่นช่าย มะเขือ กล้วยน้ำว้า ผักสลัด และผักชนิดอื่นๆ หลังจากเริ่มทดลองปลูกผ่านไปเป็นระยะเวลา 1 ปี  ได้รับการตอบรับจากผู้บริโภคและผู้ที่สนใจอาหารด้านสุขภาพอย่างต่อเนื่องและมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ จากเหตุผลดังกล่าวจึงได้มีการพัฒนารูปแบบการจัดการด้านการผลิตตั้งแต่ เทคโนโลยีการผลิตในแปลงปลูก เช่น ระบบการจัดการน้ำ การจัดการปุ๋ยภายในฟาร์ม ตลอดจนถึงการกระจายผลผลิตไปยังตลาดภายในพื้นที่และใกล้เคียง

“Agricultural Area Development Project for Organic Certification Standards”

A community enterprise group, established by local residents in Nasa Nuan, Kantarawichai District, Maha Sarakham Province, has come together to engage in organic vegetable cultivation. This community enterprise was created with the aim of producing organic vegetables for both local consumption within the community and the surrounding districts in proximity to Maha Sarakham University, Maha Sarakham Province. In the year 2020, the group consolidated its efforts and officially registered as a community enterprise. Maha Sarakham University allocated approximately 10 acres of land for organic vegetable cultivation with a commercial focus, catering to the growing demand for health-conscious markets. The cultivated organic vegetables included local favorites such as Chinese kale, cucumber, coriander, basil, eggplant, water hyacinth banana, lettuce, and other varieties. Following one year of cultivation and market testing, the initiative has received continuous and growing interest from health-conscious consumers. As a result, the production management approach has been continuously developed, covering aspects ranging from cultivation techniques within the fields, water and fertilizer management systems, and product distribution to local and neighboring markets.

Comments are closed.
Translate »