โครงการ ผักสลัดและกล้วยน้ำว้าอินทรีย์พืชเศรษฐกิจเมืองตักสิลา  : ครุศาสตร์นวัตกรรมเกษตร

โดย อ.ดร.ศุภชัย สุทธิเจริญ และคณะ

ระยะเวลาดำเนินโครงการ: 1 ธันวาคม 2564 – 30 กันยายน 2565

กลุ่มเป้าหมาย และพื้นที่ดำเนินการ: ชุมชนกล้วยน้ำว้าอินทรีย์ตักสลิลา อำเภอนาเชือก จังหวัดมหาสารคาม

ตอบโจทย์ SDGs  เป้าหมายที่ 2 ขจัดความหิวโหย บรรลุความมั่นคงทางอาหาร ส่งเสริมเกษตรกรรมอย่างยั่งยืน (Zero Hunger)

ข้อย่อย: 2.5  National Hunger : ความหิวโหยของชาติ
ตัวชี้วัด 2.5.3 University access to local farmers and food producers : Provide access to university facilities (e.g. labs, technology, plant stocks) to local farmers and food producers to improve sustainable farming practices.

เปิด “ศูนย์วิจัยชุมชน” เพื่อพัฒนาเป็นศูนย์เรียนรู้ต้นแบบสู่การถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตผักสลัดและกล้วยน้ำว้าตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย์เชิงการค้าของกลุ่มเกษตรกรในพื้นที่จังหวัดมหาสารคาม  และการจัดการความรู้เพื่อใช้ประโยชน์ให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกล้วยน้ำว้าอินทรีย์ตักสิลา อำเภอนาเชือก จังหวัดมหาสารคาม ประกอบด้วยฐานเรียนรู้ 5 ฐาน ดังนี้
ฐานเรียนรู้ที่ 1 การเลี้ยงแหนแดงและการเพิ่มมูลค่าจากแหนแดงทางการเกษตร
ฐานเรียนรู้ที่ 2 เทคโนโลยีการปลูกพืชผักสลัดและผักเมืองหนาวในระบบอินทรีย์ด้วยโต๊ะปลูกผักด้วยวัสดุปลูกจากแหนแดง
ฐานเรียนรู้ที่ 3 การแปรรูปผลิตภัณฑ์กล้วยน้ำว้าด้วยตู้อบพลังงานแสงอาทิตย์
ฐานเรียนรู้ที่ 4 การถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการพัฒนาระบบการจัดการน้ำและปุ๋ยแบบอัตโนมัติอย่างง่าย
ฐานเรียนรู้ที่ 5 การถ่ายทอดความรู้การใช้กรดอะมิโนสำหรับพืชผักและกล้วยน้ำจากกระบวนการหมักโปรตีนจากพืช

“Organic Lettuce and Water Hyacinth Banana: An Agroecological Economic Initiative in Muang Taka Sila – An Agricultural Innovation” In order to establish a model learning center for the dissemination of organic vegetable and water hyacinth banana production technologies in compliance with organic agricultural standards for the benefit of farmer groups in the Maha Sarakham province, knowledge

management activities were conducted with the organic water hyacinth banana community enterprise group in Nakheuk District, Maha Sarakham Province. These knowledge management activities encompass five knowledge bases as follows:

Knowledge Base 1: Aquatic Weed Management and Value Addition through Agricultural Practices.

Knowledge Base 2: Organic Vegetable and Cool-Season Vegetable Cultivation Techniques using hydroponic systems with aquatic weed substrates.

Knowledge Base 3: Solar Drying for Water Hyacinth Banana Product Transformation.

Knowledge Base 4: Knowledge Transfer on Easy-to-Use Automated Water and Fertilizer Management System Development

Knowledge Base 5: Knowledge Transfer on the Application of Amino Acids for Vegetable and Water Hyacinth Banana Production through Plant-Based Protein Fermentation Process.

Comments are closed.
Translate »